รู้หรือไม่! แม้รถเราจะไม่มีประกันภัย แต่เมื่อเกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บ หรือ เสียชีวิต ก็สามารถเบิกค่ารักษาพยาบาล หรือ ค่าปลงศพ จาก พ.ร.บ. รถยนต์ได้ แถมไม่ต้องรอนานอีกด้วย
ซึ่งสิทธิที่เราจะได้รับ มีดังนี้
ต่อ พ.ร.บ. ทุกปี เบิกได้มากมาย
เอกสารประกอบ เพื่อเบิกค่าสินไหมทดแทน มีดังนี้
กรณีบาดเจ็บ
กรณีเบิกค่าชดเชย (ผู้ป่วยใน)
กรณีทุพพลภาพ
กรณีเสียชีวิต
เบิกค่าสินไหมทดแทน จากพ.ร.บ.
นอกจากนี้ ทาง Chobrod.com ก็ได้รวบรวมคำถาม เกี่ยวกับความสงสัยด้านสิทธิพ.ร.บ.มาไว้ให้แล้ว ไปดูกันเลย
ตอบ ค่าเสียหายเบื้องต้น กรณีเสียชีวิตที่ได้รับ คือ 35,000 บาท โดยจะได้รับก่อน โดยที่ไม่ต้องรอพิสูจน์ว่าใครผิดใครถูก แต่หลังจากพิสูจน์แล้ว ประกันฝ่ายผิด จะต้องรับผิดชอบค่าเสียหายให้ฝ่ายถูก ในวงเงินไม่เกิน 300,000 บาท (รวมค่าเสียหายเบื้องต้นด้วย)ครับ
ตอบ ยื่นเบิกค่าเสียหายกับบริษัทประกันภัยที่ทำ พ.ร.บ.ไว้ครับ ซึ่งแต่ละกรณีก็จะใช้เอกสารแตกต่างกัน สามารถเข้าไปดูรายละเอียดที่ http://www.rvp.co.th/documents_use.php ได้เลยครับ
ตอบ ปกติต้องเรียกร้องค่าสินไหมนับจากวันเกิดเหตุภายใน 2 ปีครับ แต่ถ้าเกินกว่า 2 ปี จะไม่สามารถเรียกร้องได้แล้วครับ
ตอบ ต้องดูว่าเป็นอัมพาตถาวร หรือชั่วคราวครับ ถ้าชั่วคราวจะได้ค่าเสียหาย 80,000 แต่ถ้าถาวร คือทุพพลภาพ จะได้ 300,000 บาท
ดังนั้น เมื่อเตรียมเอกสารเรียบร้อยแล้ว จึงสามารถทำเรื่องขอเบิกเงินจากบริษัทประกันภัยรถยนต์ ที่เราได้ซื้อพ.ร.บ.มา ซึ่งสามารถดูได้ที่กรมธรรม์ หรือ บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ได้ทุกสาขาทั่วประเทศ และสำหรับรถจักรยานยนต์ ซึ่งจะมีการเบิกจ่ายเงินภายใน 7 วัน โดยพ.ร.บ.จะคุ้มครองผู้เสียหายในส่วนของคนเท่านั้น ส่วนทรัพย์สิน หรือ ตัวรถจะไม่ได้รับการคุ้มครอง
ฉะนั้น ผู้ขับขี่รถยนต์ ควรต้องทำประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ หรือ ที่เราเรียกกันว่าประกันรถยนต์ เอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นชั้น 1 ชั้น 2 หรือชั้น 3 เพื่อประกันความเสี่ยงจากอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น เพราะอะไรก็ไม่แน่นนอนนะครับ
ขอบคุณภาพประกอบจาก ทิพยประกันภัย
>> ดูเพิ่มเติม:
รีบไปต่อด่วน!! กรมขนส่งประกาศ!! ประกันต้องจ่าย “พรบ. ต่อทุกปี” ได้เงิน 3 แสน แบบไม่ต้องขึ้นศาล!!
ประกันรถยนต์คุ้มครองแค่ไหน ถ้าโดนชนแล้วหนี ?
สำหรับคำถาม “จอดรถ ลงไปทำธุระ แต่ ไม่ดับเครื่อง หากโดนขโมย ประกันจะจ่ายหรือไม่?”